www.ijobsi.blogspot.com

"IDEAJOBSTHAI " โดย สุกิจ บุญปก

"IDEAJOBSTHAI " โดย  สุกิจ บุญปก
นายหน้า ประกันวินาศภัย เขต ภาคตะวันออก,มัคคุเทศก์ ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ) อิสระ,โทร:+66(0)878330089,e-mail:bpeter.p2@gmail.com

แนะนำ อาชีพ 2008

สวัสดีครับ ผมสุกิจ บุญปก ยินดีต้อนรับ เพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ทุกท่าน ที่แวะเข้ามาเยี่ยมชม web-log ของผม ในเนื้อหาของ บล็อค นี้ส่วนใหญ่จะเสนอแนวทางการสร้างอาชีพ และ รายได้ เพื่อให้เป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่มีความประสงค์จะมีกิจการหรือ ห้างร้านเป็นของตัว เอง และให้คนไทยทุกคนได้ลืมตาอ้าปากกันได้บ้างไม่มากก็น้อยในสภาวะเศรษฐกิจ ทั่วโลกกำลังเสื่อมถอย อยู่กันในขณะนี้ ขอบุญบารมีขององค์พระศรีรัตนศาสดาราม(พระแก้วมรกต)จงปกป้องคนไทยทุกคน น๊ะครับ

ขอบคุณครับ

สุกิจ บุญปก

e-mail:(1) bpeter.p2@gmail.com
(2)phoenix_bk5@yahoo.com
( 3)boonplokthaitrip_2008@windowslive.com

เพลินเพลง ยามเย็น กับ www.ijobsi.blogspot.com

Games on line

Wednesday, December 31, 2008

องค์ประกอบ ของดวงชะตา(อาชีพ พิเศษ)

ปฏิทิน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา



ปฏิทินโบราณของฮินดู
ปฏิทิน
ปฏิทินสากล
ฮิจญ์เราะหฺ · เกรโกเรียน · ISO · ปีสุริยคติ
ประเภทปฏิทิน
สุริยจันทรคติ · สุริยคติ · จันทรคติ
ปฏิทินอื่นๆ
อาร์เมเนีย · บาฮาอี · เบงกาลี · พุทธ · จีน · คอปติก · เอธิโอเปีย · เจอร์เมนิก · ฮีบรู · ฮินดู · อินเดีย · อิหร่าน · ไอริช · ญี่ปุ่น · ชวา · เกาหลี · มายา · เนปาล · ทมิฬ · ไทย (จันทรคติสุริยคติ) · ทิเบต · ตุรกี · เวียดนาม· โยรูบา · โซโรอัสเตอร์ · ฮิจญ์เราะหฺ
ประเภทปฏิทิน
จูเลียนต้นฉบับ · รูน
ปฏิทิน คือระบบที่ใช้ในการเรียกชื่อช่วงระยะเวลา เช่น วัน เป็นต้น วันเป็นที่รู้จักในฐานะ วันปฏิทิน วันจะขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่วัตถุทางดาราศาสตร์ เราสามารถแสดงปฏิทินได้ในหลายรูปแบบ ส่วนมากมักเป็นกระดาษ เช่น แบบฉีก แบบแขวน แบบตั้งโต๊ะเป็นต้น
เนื้อหา[ซ่อน]
1 ประวัติ
1.1 ปฏิทินยุคโบราณ
1.2 ปฏิทินยุคปัจจุบัน
2 ชนิดของปฏิทิน
2.1 ปฏิทินสุริยคติ
2.2 ปฏิทินจันทรคติ
3 ปฏิทินไทย
4 อ้างอิง
5 ดูเพิ่ม
6 แหล่งข้อมูลอื่น
//

[แก้] ประวัติ
คำว่า ปฏิทิน ในภาษาอังกฤษ คือ "calendar" เป็นคำที่มาจากภาษาละติน ซึ่งนำมาจากคำพูดของชาวกรีกโบราณอีกที ว่า "Kalend" ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษว่า "I cry" สาเหตุที่ใช้คำนี้เพราะมีที่มาว่า ในสมัยโบราณจะมีคนคอยร้องบอกชาวเมือง เพื่อบอกกล่าวเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า รวมถึงประกาศวันขึ้นเดือนใหม่ เพื่อให้ลูกหนี้จ่ายเงินที่คั่งค้าง ครั้นต่อมาสังคมเริ่มสลับซับซ้อนมากขึ้น ปฏิทินจึงได้ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อแทนคนร้องบอกข่าว ปฏิทินจึงนับว่าเป็นสิ่งบอกเวลา และกลายเป็นสิ่งสำคัญในวิถีชีวิตประจำวันไปในที่สุด ต่อมามนุษย์จึงได้ริเริ่มบันทึก วัน เวลา ขึ้นเป็นลายลักษณ์อักษร หรือที่เรียกกันว่า "ปฏิทิน"

[แก้] ปฏิทินยุคโบราณ
จากหลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบในปัจจุบัน เชื่อกันว่าชนชาติแรกที่คิดค้น ระบบการนับวันแบบปฏิทินนั้นคือ ชาวบาบิโลเนียน พวกเขากำหนดวัน เดือน ปี โดยสังเกตจากระยะต่างๆ ของดวงจันทร์ ซึ่งก็คือการสังเกตข้างขึ้นข้างแรมนั่นเอง โดยเมื่อเกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 1 รอบก็จะถือเป็น 1 เดือน ปฏิทินแบบนี้เรียกว่าปฏิทินจันทรคติ และพวกเขายังกำหนดให้ 1 ปีนั้นมี 12 เดือนอีกด้วย สาเหตุที่ชาวบาบิโลเนียนกำหนดให้ 1 ปี มี 12 เดือน ก็เพราะว่า เมื่อใดที่เกิดข้างขึ้นและข้างแรมครบ 12 รอบ ฤดูกาลก็จะเวียนกลับมาอีกครั้ง
อาณาจักรข้างเคียงก็ได้ยอมรับเอาปฏิทินของชาวบาบิโลเนียมาใช้ในอาณาจักรตนเอง เช่น ชาวอียิปต์โบราณ ชาวกรีก และชาวเซเมติก เป็นต้น เมื่อพัฒนาการทางเทคโนโลยีมีมากขึ้น ชนชาติที่นำเอาปฏิทินแบบบาบิโลเนียนไปใช้นั้น ก็ได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาให้มีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอียิปต์โบราณ ที่พัฒนาแนวคิดเรื่องปฏิทินได้อย่างรุดหน้ามากที่สุด แต่เดิมชาวโรมันกำหนดให้ 1 ปี มี 355 วัน (ตามระบบจันทรคติ) และทุก ๆ 4 ปี (ปีอธิกวาร) ต้องเพิ่มวันเข้าไปอีก 22 วัน เพื่อให้ตรงกับฤดูกาล หรือการคำนวณแบบสุริยคติ) จนกระทั่ง 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช จูเลียส ซีซาร์ แห่งจักรวรรดิโรมัน ซึ่งได้เข้าครอบครองอียิปต์ ในรัชสมัยของพระนางคลีโอพัตรา ได้นำแนวคิดของนักดาราศาสตร์ชาวอียิปต์ชื่อ โซซิเจเนส (Sosigenes) มาปรับปรุงให้หนึ่งปีมี 365 วัน ปฏิทินแบบนี้เรียกว่าปฏิทินจูเลียน ซึ่งใช้กันมายาวนานจนถึง ค.ศ. 1582 จึงมีการแก้ไขอีกครั้งหนึ่ง

[แก้] ปฏิทินยุคปัจจุบัน
เนี่องจากการที่ต้องเพิ่มวันเข้าไปในปฏิทิน 1 วัน ในทุกๆ 4 ปี ทำให้ในสมัยต่อๆ มาเกิดความสับสนในฤดูกาล กล่าวคือปีปฏิทินสั้นกว่าปีฤดูกาล ดังนั้นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆ จะมาถึงเร็วกว่าปีปฏิทินมากขึ้นทุกปี เช่นใน ค.ศ. 1582 วสันตวิษุวัต (วันที่กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน) ตามปีปฏิทินเดิมคือวันที่ 21 มีนาคม แต่ปรากฏการณ์นี้กลับเกิดขึ้นจริงในวันที่ 11 มีนาคมแทน เมื่อเป็นเช่นนี้ ศาสนจักรจึงเข้ามามีบทบาทในการแก้ไข พระสันตปาปา เกรกอรี่ที่ 13 ได้ออกประกาศให้หักวันออกจากปีปฏิทินเสีย 10 วัน มีผลทำให้ในปี ค.ศ. 1582 นั้นหลังวันที่ 4 ตุลาคม กลายเป็นวันที่ 15 ตุลาคม แทนที่จะเป็นวันที่ 5 ตุลาคม ในปีอธิกวารให้เพิ่มวันเป็นการชั่วคราว 1 วันในปีถัดไปให้หักออก นอกจากนี้ยังกำหนดให้วันที่ 1 มกราคมของทุกปีเป็นวันขึ้นปีใหม่ และให้เรียกปฏิทินแบบใหม่นี้ว่า ปฏิทินเกรกอเรียน ประกาศนี้มีผลทำให้ยุโรปซึ่งอยู่ใต้การปกครองของศาสนจักร ต้องใช้ปฏิทินแบบเดียวกันตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ปัจจุบัน "ปฏิทิน" ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลาย นักธุรกิจติดต่อนัดหมายกันผ่าน วัน เวลา ในปฏิทิน นอกจากนี้ปฏิทินยังคอยย้ำเตือนถึง วัน เวลาที่สำคัญต่าง ๆ เช่น วันเกิด วันหยุด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีปฏิทินที่กำหนดวันสำคัญทางศาสนา ซึ่งจะต้องอาศัยการประกาศอย่างเป็นทางการ เช่น วันเริ่มถือศีลอดเดือนรอมะฎอน วันจาริกแสวงบุญของอิสลามิกชน (ฮัจญ์) และวันอาชูรออ์ เป็นต้น

[แก้] ชนิดของปฏิทิน

[แก้] ปฏิทินสุริยคติ
ปฏิทินเกรกอเรียน
ปฏิทินสุริยคติไทย
ปฏิทินจูเลียน
ปฏิทินญะลาลีย์(สุริยคติอิหร่าน)
ปฏิทินของสาธารณรัฐฝรั่งเศส
ปฏิทินมายา (อเมริกาใต้)

[แก้] ปฏิทินจันทรคติ
ปฏิทินจันทรคติไทย
ปฏิทินจันทรคติราชการ
ปฏิทินจันทรคติปักขคณนา
ปฏิทินฮิจญ์เราะหฺ(อิสลาม)
ปฏิทินยิว
ปฏิทินจันทรคติจีน

[แก้] ปฏิทินไทย
ดูบทความหลักที่ ปฏิทินไทย
ในอดีตประเทศไทยใช้ปฏิทินจันทรคติตั้งแต่สมัยสุโขทัยโดยนับปีตามปีมหาศักราชและจุลศักราชตามลำดับ จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ เปลี่ยนจากปฏิทินจันทรคติมาใช้ปฏิทินสุริยคติ ในปีจุลศักราช 1240 ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2431 โดยใช้แบบสากลตามปฏิทินเกรกอเรียน โดยเดือนแรกของปีคือเดือนเมษายน และเดือนสุดท้ายของปีคือมีนาคม และปรับมาใช้รัตนโกสินทรศก และพุทธศักราชตามลำดับจนกระทั่งในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้มีการปรับเปลี่ยนปฏิทินอีกครั้งโดยปรับให้วันที่ 1 มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่และเป็นวันเริ่มต้นของปีแทนที่รูปแบบเดิม โดยวันขึ้นปีใหม่ในรูปแบบนี้เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2484
การพิมพ์ปฏิทินมีขึ้นเป็นครั้งแรกในเมืองไทย เมื่อ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2385 (ปลายสมัย รัชกาลที่ 3) ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ทรงฯโปรดให้พิมพ์ปฏิทินภาษาไทย ในสมัยรัชกาลที่ 5 ปฏิทินที่พิมพ์ในเมืองไทยได้แก่ "ประนินทิน" แจ้งราคาขายไว้เล่มละ 4 บาท การพิมพ์ปฏิทินเล่มยังมีการจัดทำต่อมา ในหลายรูปแบบ ซึ่งมีบอกสถาพของน้ำขึ้น-น้ำลง ดิถีดวงจันทร์ และปฏิทินภาษาจีนร่วมด้วย และมีช่องว่างให้บันทึกเล็กน้อย ในรูปแบบของ ไดอารี่ หรือ "สมุดบันทึกประจำวัน" ก็สามารถอนุโลมให้เป็นปฏิทินได้ โดยไดอารี่ที่มีชื่อเสียงได้แก่ ไดอารี่ของรัชกาลที่ 5 ซึ่งเมื่อตีพิมพ์เผยแพร่มีชื่อเรียกว่า "จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน"

[แก้] อ้างอิง
มณฑา สุขบูรณ์. "เวลา … พันธนาการแห่งมนุษย์," THE EARTH 2000 2,22 (2539) หน้า 76 –88.
อเนก นาวิกมูล. สิ่งพิมพ์คลาสสิก วิคตอรี่เพาเวอร์พอยท์, กรุงเทพฯ 2533.

[แก้] ดูเพิ่ม
ปฏิทินสุริยคติ
ปฏิทินจันทรคติ
ปฏิทินสุริยจันทรคติ
ดิถี

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
ปฏิทิน 100 ปีของนาดา
ปฏิทินทุกปี ออนไลน์
ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%99".
29 มีนาคม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
แม่แบบ:ปฏิทินมีนาคม2552
วันนี้เมื่อปีก่อน ๆ
พ.ศ. 2552
พ.ศ. 2551
พ.ศ. 2550
วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น
เนื้อหา[ซ่อน]
1 เหตุการณ์
2 วันเกิด
3 วันถึงแก่กรรม
4 วันสำคัญและวันหยุดเทศกาล
5 แหล่งข้อมูลอื่น
//

[แก้] เหตุการณ์
พ.ศ. 2180 (ค.ศ. 1638) - ชาวสวีเดนตั้งถิ่นฐานโดยใช้ชื่อว่า "นิวสวีเดน" ใกล้กับอ่าวเดลาแวร์ นับเป็นอาณานิคมแห่งแรกของสวีเดนในอเมริกา
พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1849) - สหราชอาณาจักรผนวกรัฐปัญจาบที่อยู่ระหว่างอินเดียกับปากีสถาน เข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคม
พ.ศ. 2516 (ค.ศ. 1973) - สงครามเวียดนาม : พลรบหน่วยสุดท้ายของสหรัฐอเมริกา เดินทางออกจากเวียดนามใต้
พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) - ยานมาริเนอร์ 10 ขององค์การนาซา เป็นยานอวกาศลำแรกที่โคจรเข้าใกล้ดาวพุธ

สีสันการชุมนุมที่สยามพารากอน
พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) - การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี : พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเปลี่ยนสถานที่ชุมนุมขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรนายกรัฐมนตรี จากหน้าทำเนียบรัฐบาลเป็นสยามพารากอน สยามสแควร์

[แก้] วันเกิด
พ.ศ. 2332 (ค.ศ. 1790) - จอห์น ไทเลอร์ ประธานาธิบดีคนที่ 10 ของสหรัฐอเมริกา (ถึงแก่กรรม 18 มกราคม พ.ศ. 2404)
พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1888) - พระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของไทย (ถึงแก่อสัญกรรม 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2490)
พ.ศ. 2444 (ค.ศ. 1902) - วิลเลียม วอลตัน คีตกวีชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 8 มีนาคม พ.ศ. 2526)
พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943) - จอห์น เมเจอร์ อดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร
พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) - ฮิโรมิ สึรุ นักพาย์ชาวญี่ปุ่น
พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) - ทาคิซาว่า ฮิเดอากิ นักร้อง/นักแสดง ชาวญี่ปุ่น

[แก้] วันถึงแก่กรรม
พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1912) - โรเบิร์ต ฟัลคอน สกอตต์ นักสำรวจชาวอังกฤษ (เกิด 6 มิถุนายน พ.ศ. 2411)
พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) - คาร์ล ออร์ฟ คีตกวีชาวเยอรมัน (เกิด 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2438)

[แก้] วันสำคัญและวันหยุดเทศกาล

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
BBC: On This Day
NY Times: On This Day
Today in History: March 29
วันและเดือนในรอบปี
มกราคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
กุมภาพันธ์
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 (29) (30)
มีนาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
เมษายน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
พฤษภาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
มิถุนายน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
กรกฎาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
สิงหาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
กันยายน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ตุลาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31
พฤศจิกายน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
ธันวาคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31

ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/wiki/29_มีนาคม".
หมวดหมู่: วัน มีนาคม

เดือน 3
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา


เดือนจันทรคติ
เดือน 1
เดือน 2
เดือน 3
เดือน 4
เดือน 5
เดือน 6
เดือน 7
เดือน 8
เดือน 9
เดือน 10
เดือน 11
เดือน 12
เดือน 3 คือเดือนที่สามของปี อาจหมายถึงเดือนมีนาคมตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือเดือนที่สามตามปฏิทินจันทรคติ และเนื่องจากปฏิทินจันทรคติกำหนดตามดิถีจันทร์ เดือน 3 จึงไม่ตรงกันทุกปีเมื่อเทียบกับปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน แบ่งได้เป็น

[แก้] ปฏิทินจันทรคติไทย
ตามปฏิทินจันทรคติไทย เดือน 3 มักเริ่มในเดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ มี 29 วัน คือ ตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 3 ถึงแรม 14 ค่ำ เดือน 3 มีช่วงเวลาดังนี้
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2548
30 มกราคม พ.ศ. 2549 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
19 มกราคม พ.ศ. 2550 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550
7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2551
26 มกราคม พ.ศ. 2552 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันสำคัญในเดือนนี้คือวันมาฆบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 หากปีใดมีอธิกมาส (มีเดือน 8 สองหน) วันมาฆบูชาจะเลื่อนไปยังวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4

[แก้] ปฏิทินจีน
ตามปฏิทินจีน เดือน 3 มักเริ่มในเดือนมีนาคมหรือเมษายน มีช่วงเวลาดังนี้
9 เมษายน พ.ศ. 2548 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2548
29 มีนาคม พ.ศ. 2549 - 27 เมษายน พ.ศ. 2549
17 เมษายน พ.ศ. 2550 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
6 เมษายน พ.ศ. 2551 - 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
27 มีนาคม พ.ศ. 2552 - 24 เมษายน พ.ศ. 2552

No comments:

"ideajobthai"

ศูนย์ หนังสือ-ของเล่น-เสื้อผ้า/กล้องถ่ายรูป-ดาวน์โหลด ภาพยนต์ -เพลง-อุปกรณ์ DIGITAL.

PATTAYAORGANIZATION AND MANAGEMENT

Powered By Blogger

google analytics.

About Me

My photo
ฮับ อิ้งค์(HUB INCORPORATED)http://hubincorporated.blogspot.com และ HUB INC.,(http://hubinc.blogspot.com) เป็น web-log ที่ อยู่ภายใต้การ บริหาร ของ บริษัท สุภาภัทร จำกัด ดำเนินกิจการ โดย คุณ สุกิจ บุญปก ประกอบกิจการ: นายหน้าประกันวินาศภัย(ประกันรถยนต์,ที่อยู่อาศัย,อาคารพาณิชย์,โรงแรม,คอนโดมีเนี่ยม,ประกันธุรกิจ,ประกันการขนส่ง ทางบก และ ทางทะเล),บริการจดทะเบียน บริษัท จำกัด-ห้างหุ้นส่วนจำกัด,บริการ รถเช่า(ขับเอง),รถรับ- ส่ง(แบบมีคนขับ/ทั้งไปรับ-ส่งสนามบิน และ รับ-ส่งทั่วประเทศ),รับจอง-จำหน่ายตั๋วเครื่องบิน ทั้งภายใน-ต่างประเทศ,รับปรึกษา เรื่องวีซ่า ทั้งภายในประเทศไทย และ ต่างประเทศ(รวมถึงการต่ออายุ วีซ่า),เป็นมัคคุเทศก์(ภาษาอังกฤษ)สำรองที่พัก ภายในประเทศไทย-โปรแกรม ทัวร์ ภายในประเทศไทย,ทำธุรกิจขายปลีก-ขายส่ง สินค้าอุปโภค บริโภค(ธุรกิจขายตรงเครือข่ายหลายชั้น/Multi Level Marketing สนใจติดต่อ:+66(0)878330089 e-mail:bpeter.p2@gmail.com website:www.suphaphat.blogspot.com web-log: antibirdgel.wordpress.com sci09.wordpress.com Supaphat company limited. Operated by Mr.Sukij(Peter)Boonplok (Business-insurance) Please contact: +66 (0) 878330089:+66(0)38731735: e-mail: bpeter.p2@gmail.com, sci_09@hotmail.com web-log: sci09.wordpress.com.

ideajobsthai search

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย